สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน

 

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน

 

๑.  ด้านศักยภาพ

 

           ๑.๑  ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือชุมชนหรือตำบล

                   องค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน  เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ตั้งอยู่เลขที่  ๒๒๕  หมู่ที่ ๕ ตำบลแก่งเสี้ยน  อำเภอเมือง  จังหวัดกาญจนบุรี  อยู่ห่างจากอำเภอเมืองกาญจนบุรีประมาณ ๒๐ กิโลเมตร  มีเนื้อที่ ประมาณ  ๘๗.๕๒  ตารางกิโลเมตร  หรือ ๕๔,๗๐๐ ไร่   องค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยนได้รับการยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลและมีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น  ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.๒๕๓๗  ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย  เมื่อวันที่  ๒ มีนาคม ๒๕๓๘  โดยมีนายธัญญา  ดารา-พิสัยสุข  เป็นประธานกรรมการบริหาร (โดยตำแหน่ง) คนแรก  และได้เปลี่ยนเป็นนายกองค์การบริหารส่วนตำบล  มีนายสังวรณ์   เขาถ้ำทอง  เป็นนายกฯ คนแรก

 

v แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น  4  หมู่บ้าน  ดังนี้

 

ลำดับที่

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

ชื่อ – สกุล

ตำแหน่ง

1

หมู่ที่ 4

บ้านหนองสองตอน

นายประสงค์      ทับขำ  

ผู้ใหญ่บ้าน

2

หมู่ที่ 5

บ้านหนองจอก

นายชยพล         หนูขาว  

ผู้ใหญ่บ้าน

 3

หมู่ที่ 6

บ้านตรอกมะตูม

นายสมควร        นินจันทร์  

ผู้ใหญ่บ้าน

4

หมู่ที่ 7

บ้านท่าดินสอพอง

นางสาวบุณยนุช  รอดสิน 

ผู้ใหญ่บ้าน

 

            ๑.๒  ลักษณะภูมิประเทศ

 เนื่องจากสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสลับภูเขา  จึงทำให้มีอุณหภูมิค่อนข้างสูง  และมีอากาศร้อน อบอ้าวมากในฤดูร้อน  ส่วนฤดูหนาวไม่หนาวจัดยกเว้นบริเวณเทือกเขา มีอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 28.48 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 42.50 องศาเซลเซียส  โดยเดือนที่มีอากาศร้อนที่สุดในรอบปีคือเดือนเมษายน 

 

๑.๓  ลักษณะภูมิอากาศ

v สภาพภูมิอากาศ แบ่งออกเป็น 3 ฤดูกาล  

                    ฤดูร้อน    เริ่มมีลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือสิ้นสุดลง คือ ประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ ถึงกลางเดือนพฤษภาคม  ในระยะนี้เป็นส่วนของลมฝ่ายใต้พัดมาปกคลุม  ทำให้มีอากาศร้อนจัดในเดือนเมษายน

ฤดูฝน      เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมจนถึง เดือนพฤศจิกายน  โดยช่วงนี้เป็นช่วงที่ลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้พัดมาปกคลุม ทำให้มีฝนตกโดยตกชุกที่สุดในเดือนกันยายนและเป็นช่วงที่มีความชื้นสูงสุด 

ฤดูหนาว   เกิดจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ  ซึ่งความกดอากาศสูงจากประเทศจีนพัดผ่าน ทำให้ความหนาวเย็นและแห้งแล้งปกคลุม  โดยเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์

 

๑.๔  ลักษณะของดิน

v เขตที่ราบลุ่ม

พื้นที่ในหมู่ที่ 7  มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มทำให้ดินมีสภาพความอุดมสมบูรณ์ และพื้นที่ในหมู่ที่ 4, 5 และ 6  ส่วนใหญ่เป็นดินลูกรังและดินปนทราย  

 

 

 

 

๑.๕  ลักษณะของแหล่งน้ำ

                   - แม่น้ำ                    จำนวน             1      แห่ง

-  ฝาย                     จำนวน           ๑๐       แห่ง

                   - บ่อน้ำตื้น                 จำนวน             ๔      บ่อ

                   - สระน้ำ                             จำนวน           ๒๒      บ่อ

                   - บ่อโยก                             จำนวน             ๖      แห่ง

 

๑.๖  ลักษณะของไม้และป่าไม้

       ประกอบด้วยป่าหลายชนิดผสมกันอยู่ตามธรรมชาติ  ได้แก่  ป่าดิบแล้ง มักพบตามที่ราบลุ่มและริมห้วย  ซึ่งมีลักษณะผสมกันอยู่ระหว่างป่าดิบแล้งและป่าดิบชื้น ป่าเต็งรัง  มักพบในพื้นที่บริเวณยอดเขาที่มีความสูงไม่มากนัก  และป่าเบญจพรรณมักพบติดต่อกับป่าเต็งรัง และอยู่ในระดับที่ต่ำกว่า  สภาพป่าส่วนใหญ่มีสภาพป่าอุดมสมบูรณ์  พันธุ์ไม้ที่สำคัญ  ได้แก่  ป่าสัก  ส่วนไม้พื้นล่าง  ได้แก่  ไม้ไผ่  เถาวัลย์  และหญ้าชนิดต่าง ๆ

แผนที่ตามแผนพัฒนาท้องถิ่น

ตำบลแก่งเสี้ยน อำเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี

 

 

 

 

๒.  ด้านการเมือง / การปกครอง

 

                  

.๑  เขตการปกครอง

v เขตพื้นที่

ทิศเหนือ          ติดกับ   ตำบลหนองกุ่ม อำเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี

ทิศใต้             ติดกับ   ตำบลท่ามะขาม อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี

ทิศตะวันออก    ติดกับ   ตำบลปากแพรก อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี

ทิศตะวันตก       ติดกับ ตำบลลาดหญ้า อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี

 

 

 

๒.๒  การเลือกตั้ง

                          องค์การบริหารส่วนตำบล  ประกอบด้วย  สภาองค์การบริหารส่วนตำบล  และนายกองค์การบริหารส่วนตำบล   โดยสภาองค์การบริหารส่วนตำบล  ประกอบด้วยสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล  จำนวนหมู่บ้านละสองคน  ซึ่งเลือกตั้งขึ้นโดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในแต่ละหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนั้น   กรณีที่เขตองค์การบริหารส่วนตำบลใดมีเพียงหนึ่งหมู่บ้านให้มีสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลจำนวนหกคน และในกรณีมีเพียงสองหมู่บ้านให้มีสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลหมู่บ้านละสามคน  องค์การบริหารส่วนตำบลมีนายกองค์การบริหารส่วนตำบลหนึ่งคน  ซึ่งมาจากการเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นโดยตรง  การเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น

 

                          ปัจจุบัน  นายกองค์การบริหารส่วนตำบลและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน  มาจากคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ  และปัจจุบันผลการใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้งผู้บริหาร  จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง  ครั้งล่าสุด (ข้อมูลเมื่อวันที่  ๕  เดือน มกราคม  พ.ศ.๒๕๕๗)  สรุปได้ ดังนี้

                   -  จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน      จำนวน ๓,๙๖๗  คน

-  จำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน จำนวน ๓,๐๒๑  คน

-  จำนวนบัตรเลือกตั้งที่ใช้ในการลงคะแนน                              จำนวน  ๓,๐๒๑  ใบ

-  จำนวนบัตรดี                                                            จำนวน  ๒,๘๙๙  ใบ

-  จำนวนบัตรเสีย                                                         จำนวน       ๗๒  ใบ

-  จำนวนบัตรไม่ประสงค์ลงคะแนน                                       จำนวน       ๕๐  ใบ

 

 

จากผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งสิ้น  ๓,๙๖๗  คน   จำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง  ๓,๐๒๑  คน   คิดเป็นร้อยละ ๗๖.๑๕

 

ประเภท   การเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้ง

จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในบัญชีรายชื่อ (คน)

รวมผู้มีสิทธิเลือกตั้ง

ที่มาแสดงตน (คน)

จำนวนบัตรเลือกตั้ง

ที่ได้รับมาทั้งหมด (ใบ)

จำนวนบัตรเลือกตั้ง

ที่ใช้ในการลงคะแนน (ใบ)

บัตรดี (ใบ)

บัตรเสีย (ใบ)

บัตรไม่ประสงค์คะแนน (ใบ)

ผู้บริหารท้องถิ่น

องค์การบริหาร

ส่วนตำบล  แก่งเสี้ยน

๓,๙๖๗

๓,๐๒๑

๔,๐๒๕

๓,๐๒1

๒,๘๙๙

๗๒

๕๐

 

 

สรุปผลการใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน

      จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง  ครั้งล่าสุด (ข้อมูลเมื่อวันที่ ๖ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๔)

 

-  จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน จำนวน ๓,๖๖๘  คน

-  จำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน   จำนวน ๒,๔๙๘  คน

-  จำนวนบัตรเลือกตั้งที่ใช้ในการลงคะแนน                                จำนวน ๒,๔๙๘  ใบ

-  จำนวนบัตรดี                                                             จำนวน ๒,๓๘๘  ใบ

-  จำนวนบัตรเสีย                                                           จำนวน      ๖๘  ใบ

-  จำนวนบัตรไม่ประสงค์ลงคะแนน                                        จำนวน      ๔๒  ใบ

     

จากผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งสิ้น  ๓,๖๖๘  คน   จำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง  ๒,๓๘๘  คน   คิดเป็นร้อยละ ๖๕.๑๐

ประเภท       องค์กรปกครอง         ส่วนท้องถิ่น

เขตเลือกตั้ง

จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาฯ (คน)

จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งผู้บริหาร (คน)

บัตรดี      (ใบ)

บัตรเสีย    (ใบ)

บัตรไม่ประสงค์ลงคะแนน (ใบ)

องค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน

ตำบลแก่งเสี้ยน หมู่ที่ ๔, 5, 6, ๗

๓,๖๖๘

๒,498

๒,๓๘๘

๖๘

๔๒

                  

 

    รายชื่อคณะผู้บริหาร

 

ลำดับที่

ชื่อ – สกุล

ตำแหน่ง

โทรศัพท์

1

นายสมชาย  ฟักทอง

นายกองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน

092-5266692

2

นายเล็ก  วงสิงห์

รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน

098-3027886

 3

นายเพชรรัตน์  ชนะเลิศ

รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน

098-5582402

4

นางอำไพ  ฤทธิ์คำรพ

เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน

088-4588278

 

     รายชื่อสมาชิกสภาฯ

 

ลำดับที่

ชื่อ – สกุล

ตำแหน่ง

โทรศัพท์

1

นายณรงค์  แก้วบัวดี

ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน

084-3144279

2

นางสมบูรณ์  เงินบาท

รองประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน

085-7043478

 3

นางบานเย็น  รอดภัย

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน หมู่ที่ 4

092-9083917

4

นายจรัญ  หนูขาว

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน หมู่ที่ 5

086-1651963

5

นางวันเพ็ญ  พุ่มจันทร์

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน หมู่ที่ 6

086-1623503

6

นายสายัณห์  ชนะเลิศ

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน หมู่ที่ 7

080-6569778

7

นายวีรยุทธ  จันทร์จู

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน หมู่ที่ 7

087-1588409

8

ส.ต.ท.เสน่ห์  ดำดี

เลขานุการสภาองค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยน

089-2554669

 

   (ข้อมูล ณ  เดือนสิงหาคม 2559)

 

 

 

 

๓. ประชากร

 

          ๓.๑  ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร

 

พื้นที่ในเขต

อบต.แก่งเสี้ยน

ประชากรชาย (คน)

ประชากรหญิง (คน)

จำนวนประชากรทั้งสิ้น (คน)

จำนวนครัวเรือน (หลังคาเรือน)

หมู่ที่ 4 บ้านหนองสองตอน

760

745

1,505

793

หมู่ที่ 5 บ้านหนองจอก

565

562

1,127

456

หมู่ที่ 6 บ้านตรอกมะตูม

987

1,026

2,013

694

หมู่ที่ 7 บ้านท่าดินสอพอง

573

650

1,223

540

รวม

2,885

2,983

5,868

2,483

 

                                                                                        (ข้อมูล ณ  เดือนสิงหาคม 2559)

 

 

 

 
 

 

 

 

 

                                              

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

๓.๒  ช่วงอายุและจำนวนประชากร

 

 

แบ่งตามช่วงอายุ

ชาย

หญิง

รวม

ช่วงอายุระหว่าง  2 สัปดาห์ - 2 ปี

180

132

312

ช่วงอายุระหว่าง 3- 6 ปี

196

186

382

ช่วงอายุระหว่าง   7-12 ปี

334

233

567

ช่วงอายุระหว่าง   13-19 ปี

233

303

536

ช่วงอายุระหว่าง   20-39 ปี

895

965

1,860

ช่วงอายุระหว่าง   40-59 ปี

738

820

1,558

ช่วงอายุระหว่าง   60-70 ปี

195

215

410

ช่วงอายุระหว่าง   71-79 ปี

86

88

174

ช่วงอายุระหว่าง   80-100 ปี

28

41

69

อายุมากกว่า 100 ปี

-

-

-

รวมประชากร  ทั้งสิ้นจำนวน

2,885

2,983

5,868

 

                                                                              (ข้อมูล ณ  เดือนสิงหาคม 2559)

 

 

 

 

๔. สภาพทางสังคม

๔.๑ การศึกษา

              

มีโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน  จำนวน 1 แห่ง

 

ลำดับที่

สถานศึกษาในสังกัด สพฐ.

จำนวนครู

จำนวนนักเรียน

โทรศัพท์

1.

โรงเรียนบ้านหนองสองตอน

18

340

๐๓๔-๖๐๒๙๒๐

รวม

18

340

 

 

                                                            (ข้อมูล ณ  เดือนสิงหาคม 2559)

 

                    มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ  จำนวน  1  แห่ง

 

ลำดับที่

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

จำนวนครู

จำนวนนักเรียน

โทรศัพท์

1.

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดถ้ำขุนไกร

3

73

-

รวม

3

73

 

 

(ข้อมูล ณ  เดือนสิงหาคม 2559)

 

 

 

๔.๒  การสาธารณสุข

 

               มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองสองตอน  จำนวน 1 แห่ง

 

ลำดับที่

สถานพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

จำนวนเจ้าหน้าที่

จำนวน  อสม.

โทรศัพท์

1.

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองสองตอน 

4

86

๐๓๔-๖๐๒๙๑๙

รวม

4

86

 

 

(ข้อมูล ณ  เดือนสิงหาคม 2559)

 

จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐาน พบว่า  ประชาชนกรส่วนมากมีสุขภาพที่ดี  มีการคัดกรองสุขภาพให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยง  โรคที่มักเกิดแก่ประชากรในชุมชน  ได้แก่  โรคความดัน  โรคเบาหวาน   โรคเอดส์             โรคไข้เลือดออก  มือ-ปาก-เท้าในเด็ก  และโรคอื่น ๆ   มีสถิติเข้ารับการรักษาพยาบาล  ปัญหาคือประชาชนบางรายไม่ยอมไปคัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี  การแก้ไขปัญหา คือ องค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยนและหน่วยงานสาธารณสุข  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพฯ  ได้จัดกิจกรรมร่วมมือกันรณรงค์ให้ชุมชนเห็นความสำคัญในเรื่องนี้  ซึ่งก็ได้ผลในระดับหนึ่ง  ประชาชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี  แต่ต้องเป็นการดำเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี  สำหรับเด็กแรกเกิดถึง ๖ ปี  ผู้ปกครองไม่สามารถเลี้ยงดูตรงตามเกณฑ์มาตรฐาน  จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐาน บางครัวเรือนไม่ได้กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ  การใช้ยาเพื่อบำบัดอาการเจ็บป่วยที่ไม่เหมาะสม  การออกกำลังกายยังไม่สม่ำเสมอ  และประชากรส่วนมากไม่ได้รับการตรวจสุขภาพ  ปัญหาเหล่านี้องค์การบริหารส่วนตำบลแก่งเสี้ยนพยายามอย่างยิ่งที่จะแก้ไข  โดยร่วมมือกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพฯ  สาธารณสุข  จัดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา 

 

 

                  

v สถานการณ์/ปัญหาสุขภาพ (ประชาชนตำบลแก่งเสี้ยน)

 

ลำดับที่

โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางด้านระบาดวิทยา

ผู้ป่วย (ราย)

ผู้เสียชีวิต (ราย)

หมู่ที่ 4

หมู่ที่ ๕

หมู่ที่ ๖

หมู่ที่ ๗

หมู่ที่ 4

หมู่ที่ ๕

หมู่ที่ ๖

หมู่ที่ ๗

โรคอุจจาระร่วง

๑๙

๑๐

๒๘

โรคระบบทางเดินอาหาร  อ